แบบประเมินอัตลักษณ์นักศึกษา(SAPWE)
This entry was posted on วันอังคาร, มิถุนายน 11th, 2019 at 4:48 pm and is filed under ไม่มีหมวดหมู่. You can follow any responses to this entry through the RSS 2.0 feed.
You can leave a response, or trackback from your own site.
Hathairat Budsayapanpong says:
ควรใช้แบบประเมินของสบช.เป็นหลัก และต่อยอดในส่วนของที่ วพบ.ชัยนาทออกแบบ เพื่อเก็บข้อมูลตอบสบช.และตอบอัตลักษณ์นักศึกษาวพบ.ชัยนาทไปพร้อมกัน
อ.วงเดือน เล็กสง่า says:
แบบประเมินอัตลักษณ์นักศึกษา เป็นเครื่องมือที่ใช้กำกับติดตามคุณภาพนักศึกษาตาม SAPWE การคิดแบบประเมินควรเป็นคณะกรรมการที่ดูแลเป็นผู้ออกแบบ
ชมพู่ หลั่งนาคp says:
เห็นด้วยที่ควรใช้แบบประเมินกลางจาก สบช.ค่ะ
ชมพู่ หลั่งนาค says:
ควรใช้แบบกลางของ สยช.ประเมินและสะท้อนผลให้ทราบด้วยค่ะ
ฐิติมา says:
แบบประเมินควรมีความครอบคลุม และประเมินตามลักษณะของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริง เพื่อให้ได้ผลการประเมินตรงตามที่ระบุไว้
Pattarawadee srinuan says:
ควรใช้แบบประเมินของสบช.เป็นหลัก และนำมาปรับให้เหมาะสมตรงตามบริบทของวิทยาลัยฯ
สายฝน อำพันกาญจน์ says:
แบบประเมินอัตลักษณ์ควรใช้แบบประเมินของ สบช เป็นหลักและมีการรายงานผลในที่ประชุม ทุกปีการศึกษา
ประกาศิต says:
ควรใช้แบบประเมินส่วนกลางเป็นแกนหลักในการประเมิน
จาฏุพัจน์ says:
อยากให้แบบประเมินมีความชัดเจนและทั้งวิทยาลัยไปในแนวทางเดียวกัน
Phensri says:
ควรมีการจัดสัมมนาอาจารย์เพื่อสรุปภาพรวมของอัตลักษณ์นัก
ศึกษาแต่ละคน หรือชั้นปี เพื่อร่วมกันออกแบบกิจกรรม การเรียนการสอน ที่สามารถพัฒนาอัตลักษณ์อย่างต่อเนื่อง
อัศวเดช says:
แบบประเมินกลางของสบช.เป็นหลัก ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพ SAR และเพิ่มของที่ วพบ.ชัยนาท เพื่อเก็บข้อมูลครั้งเดียว ไม่ต้องเก็บหลายรอบ
ทิพวรรณ says:
ควรมีการพัฒนาเครื่องมือassessment ที่สามารถสะท้อนสมรรถนะ SAPWE ที่เป็นอัตลักษณ์ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี ชัยนาทอย่างชัดเจน
wongduan says:
แบบประเมินนักศึกษาตามอัตลักษณ์นักศึกษา (SAPWE)ควรกำหนดโครงให้ชัดเจน ควรมีการประเมินโดยใช้การวิจัยเป็นแกนหลักในการพัฒนาแบบประเมินดังกล่าว
พิมใจ says:
การประเมินอัตลักษณ์ทั้งในงานกิจการนักศึกษาและการจัดในการเรียนการสอน ใช้แบบประเมินเดียวกันของสบช.จะอธิบายได้ยากว่าผลของอัตลักษณ์ที่เกิดขึ้นกับนักศึกษาเป็นมาจากกระบวนการของงานใด การประเมินผลจึงควรแยกระหว่างการเรียนการสอนและกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ซึ่งการพัฒนาแบบประเมินก็ควรเป็นการประเมินทั้งสองฝ่ายคือทั้งนักศึกษาประเมินและอาจารย์ประเมิน