สรุปองค์ความรู้ การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยบนวารสารระดับนานาชาติ

องค์ความรู้การประชุม พันธกิจวิจัย วันที่ 11 มค 62 โดย ดร.ปริญดา

This entry was posted on วันอังคาร, กุมภาพันธ์ 5th, 2019 at 10:16 am and is filed under ไม่มีหมวดหมู่. You can follow any responses to this entry through the RSS 2.0 feed. You can leave a response, or trackback from your own site.

35 Comments

  1. อังคริสา พินิจจันทร says:

    หากการตีพิมพ์บนฐานนานาชาติมีความยุ่งยากและคะแนนที่ได้รับไม่แตกต่างมากนักจากTCI ฐาน 1 ในประเทศ หน่วยงานควรสนับสนุน และสร้างแรงจูงใจที่แตกต่างจากปีที่ผ่านๆมา เพื่อกระตุ้นให้ อาจารย์ทุกคน ผลิตผลงาน เชื่อว่า อาจารย์ทุกท่าน มีศักยภาพ มีเครือข่ายมวลมิตรที่ดี ถ้าได้รับการจูงใจและกำลังใจที่มากพอจะสามารถผลิตผลงานที่ดีๆ ตีพิมพ์เผยแพร่ ทำให้วิทยาลัยได้รับประโยชน์

    ... on July กุมภาพันธ์ 10th, 2019
  2. Dr.parinda says:

    -การไปนำเสนอผลงานในฐาน scopes มีความสำคัญที่ช่วยพัฒนาทักษะด้านการใช้ภาษาอังกฤษ รวมทั้งยังเป็นพัฒนาความเชี่ยวชาญเฉพาะทางสาขาการพยาบาลของผู้วิจัย ตลอดจนเป็นการพัฒนาศักยภาพด้านกานวิจียของอาจารย์เจ้าของผลงาน เพิ่มพูนคงามเป็นนักวิชาการ
    -เเต่ควรระบบการเตรียมความพร้อมในกระบวนการวิจัยเ้ละองค์ความรู้ที่ดีเพียงพอในการผลักดันสู่การนำเสนอในระดับนานาชาติได้ ตลอดจนควรมีงานวิเทศสัมพันธ์เเละผู้ที่มีคงามเชีายวชาญทางภาษาอังกฤษช่วยสนับสนุนการเขียนผลงาน เพี่อเตรียมพร้อมตีพิมพ์
    -ควรผลักเันโอกาสในการทำงานวิจัยกับหน่วยงานภายนอกรวมกับเเหล่งหุนเเละสถาบันภายนอกทั้งภายในเเละต่างประเทศ

    ... on July กุมภาพันธ์ 13th, 2019
  3. Dr.parinda says:

    -การสร้างงานวิจัยในต่างประเทศมีประโยชน์สำหรับการพัฒนาความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชาการพยาบาล เเละการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษของอาจารย์
    -ควรความพร้อมด้านการสร้างผลงานวิจัยที่พร้อมรับการตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ เเละควรมีระบบการช่วยเหลือด้านการใช้ภาษาอังกฤษจากงานวิเทศสัมพันธ์ เเละผู้เชี่ยวชาญทางภาษาอังกฤษ
    -ควรมีการผลักดันให้อาจารย์ได้รับโอกาสในการทำงานวิจัยกับหน่ยงสนภายนอกเเละต่างประเทศ

    ... on July กุมภาพันธ์ 13th, 2019
  4. AJ.Boossaba says:

    -การพัฒนาผลงานวิจับในการนำเสนอในต่างประเทศ ช่วยทำให้ทีมผู้วิจัยได้รับการเรียนรู้ในทีม เเละการใช้ภาษาอังกฤษ
    -ควรมีระบบการเตรียมความพร้อมด้านภาษา เเละการสร้างขวัญกำลังในในการทำงานวิจัยที่เกิดผลตามกระบวนการตามขั้นตอนระบบงานจริง

    ... on July กุมภาพันธ์ 13th, 2019
  5. นภัสสร says:

    -การตีพิมพ์งานวิจัยในระดับนานาชาติ ควรมีที่ปรึกษาที่มีประสบการณ์และระยะเวลาในการเตรียม ที่เพียงพอ
    -พัฒนาการเขียนบทความภาษาไทย ให้มีคุณภาพ เพื่อฝึกประสบการณ์
    -มีงบประมาณ สนับสนุนที่เพียงพอและจูงใจ ค่ะ

    ... on July กุมภาพันธ์ 13th, 2019
  6. DOUNGJAI says:

    องค์ความรู้เชิงวิชาการ และทักษะทางด้านภาษาอังกฤษเป็นสิ่งสำคัญ ในการเพิ่มสมรรถนะในการเผยแพร่ผลงานวิชาการและผลงานวิจัีย

    ... on July กุมภาพันธ์ 13th, 2019
  7. นภัทร. เตี๋ยอนุกูล says:

    การเตรียมข้อมูลในการลงตีพิมพ์นั้นมีความยุ่งยาก การลงตีมพิมพ์ภายในประเทศและต่างประเทศต้องมีเรื่องเงินค่าตีพิมพ์ ทาง
    วพบ.ควรเตรียมผู้ที่จะลงตีพิมพ์ และระบุชื่อและสนับสนุนให้สามารถลงตีพิมพ์ได้

    ... on July กุมภาพันธ์ 13th, 2019
  8. นภัทร. เตี๋ยอนุกูล says:

    วิทยาลัยฯควรมีการเตรียมความพร้อมและสนับสนุนผู้ลงตีพิมพ์ ทั้งเนื้อหาการลงตีพิมพ์ และสนับสนุนทางการเงินเรื่องค่าลงตีพิมพ์

    ... on July กุมภาพันธ์ 13th, 2019
  9. อ.นภัทร says:

    -วิทยาลัยควรมีการเตรียมความพร้อมเเเละสนับสนุนผู้ลงตีพิมพ์ทั้งเนื้อหาการลงตีพิพม์ เเละการสนับสนุนทางการเงืนเรื่องค่าลงตีพิมพ์

    ... on July กุมภาพันธ์ 13th, 2019
  10. AJ.Nappatt says:

    วิทยาลัยควรสนับสนุนการลงตีพิพม์ของอาจารย์ที่ไปนำเสนอผลงานอย่างเต็มที่ โดยเฉพาะควรการทำข้อตกลงอย่างชัดเจนในการจัดสรรงบประมาณสนัลสนุนน เเละการเสริมแรงจูงใจเพื่อผลักดันให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อการสร้างผลงานตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ

    ... on July กุมภาพันธ์ 13th, 2019
  11. Aj.Napat says:

    วิทยาลัยควรสนับสนุนการลงตีพิพม์ของอาจารย์ที่ไปนำเสนอผลงานอย่างเต็มที่ โดยเฉพาะควรการทำข้อตกลงอย่างชัดเจนในการจัดสรรงบประมาณสนัลสนุนน เเละการเสริมแรงจูงใจเพื่อผลักดันให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อการสร้างผลงานตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ

    ... on July กุมภาพันธ์ 13th, 2019
  12. surasak says:

    การสั่งสมองค์ความรู้ ประสบการณ์ และมุมมองที่รอบด้านเกี่ยวกับวิชาการและการวิจัย เป็นสิ่งสำคัญ จะทำให้การเผยแพร่มีคุณภาพมากขึ้น

    ... on July กุมภาพันธ์ 13th, 2019
  13. Hathairat Budsayapanpong says:

    -การนำเสนองานวิจัยในต่างประเทศมีประโยชน์สำหรับการพัฒนาความเชี่ยวชาญ เเละพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษของอาจารย์ เป็นการสร้างเครือข่ายการทำงาน ตลอดจนเปิดโลกทัศน์ของอาจารย์สู่นานาชาติหากวางแผนงานรอบคอบจะสามารถบูรณาการงานวิเทศสัมพันธ์ร่วมด้วยเช่นทำMOUกับหน่วยงานในต่างประเทศเพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้
    -ควรมีการเตรียมความพร้อมในการสร้างผลงานวิจัยให้พร้อมสำหรับการตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ เเละควรมีระบบการช่วยเหลือด้านการใช้ภาษาอังกฤษจากงานวิเทศสัมพันธ์ เเละผู้เชี่ยวชาญทางภาษาอังกฤษ
    -ควรมีการเตรียมความพร้อมด้านภาษาต่างประเทศที่จำเป็นให้อาจารย์และนศ.ให้มีการสนทนาเป็นภาษาอังกฤษเพื่อสร้างความคุ้นเคย

    ... on July กุมภาพันธ์ 13th, 2019
  14. ฐิติมา says:

    -การพัฒนาผลงานวิจับเพื่อการนำเสนอในต่างประเทศ มีส่วนช่วยทำให้ผู้วิจัยได้พัฒนาการใช้ภาษา
    -ควรมีการสนับสนุน หรือจัดอบรมเตรียมความพร้อมด้านภาษา เเละการสร้างขวัญกำลังในในการทำงานวิจัย

    ... on July กุมภาพันธ์ 13th, 2019
  15. jaruwan says:

    การตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยระดับนานาชาติ ถือว่ามีความสำคัญต่อการพัฒนาตนเองด้านวิชาการ เพื่อให้เกิดการยอมรับในระดับนานาชาติมากขึ้น สิ่งสำคัญที่สุดคือ ภาษา จำเป็นต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญในการดูและช่วยเหลือการเขียนบทความทางวิชาการและบทความวิจัยที่ดี และวิทยาลัยฯควรส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการเผยแพร่ผลงานวิชาการและผลงานวิจัยอย่างเป็นรูปธรรม

    ... on July กุมภาพันธ์ 14th, 2019
  16. อาจารย์ชมพู่ หลั่งนาค says:

    ควรมีการจัดทำเป็นประกาศและคู่มืออย่างชัดเจนและที่จริงควรสงเสริมตั้งแต่ให้อาจารย์ทุกคนมีกำลังใจในการทำวิจัยให้ได้ก่อนแล้วจึงเข้าขั้นตอนการส่งเสริมให้นำไปเผยแพร่ค่ะ เนื่องจากอาจารย์แต่ละคนมึี่ Competency หลากหลายค่ะ

    ... on July กุมภาพันธ์ 14th, 2019
  17. atsawadej says:

    การตีพิมพ์บนฐานนานาชาติ มีความสำคัญต่อการพัฒนาตนเองด้านวิชาการ ของอาจารย์ แต่คะแนนที่ได้รับไม่แตกต่างจากTCI ฐาน 1 ในประเทศ งานวิจัยภาษาไทย ให้มีคุณภาพ ตรง issue trend กับวารสารก็ได้รับการตีพิมพ์ ทักษะทางภาษาอังกฤษเเละผู้เชี่ยวชาญทางภาษาอังกฤษที่คอยช่วยแก้ไขให้กับเรื่องที่สามารถส่งไปได้

    ... on July กุมภาพันธ์ 14th, 2019
  18. อ.ยุทธนา says:

    ควรมีทีมในการช่วยเหลือในการจัดทำงานวิจัยในการนำเสนอต่างประเทศ

    ... on July กุมภาพันธ์ 15th, 2019
  19. ORANOOT says:

    ควรมีระบบพี่เลี้ยงในการดำเนินการพัฒนางานวิจัยจนถึงการเผยแพร่ผลงานวิจัย ในการเผยแพร่ผลงานวิจัยระดับนานาชาติมีความสำคัญในด้านการพัฒนาทั้งองค์กรและผู้ดำเนินการวิจัย ดังนั้นควรมีการสนับสนุนเพื่อให้เกิดความคล้่องตัวเพื่อสร้างขวัญกำลังใจให้แก่นักวิจัย

    ... on July กุมภาพันธ์ 15th, 2019
  20. Doungjai says:

    การเผยแพร่ผลงานวิจัยระดับนานาชาติ เป็นสิ่งสำคัญที่แสดงถึงศักยภาพอาจารย์ ให้เป็นที่ยอมรับเชิงวิชาการมากขึ้น การพัฒนาและการสนับสนุนให้อาจารย์สามารถผลิตและเผยแพร่ผลงานวิจัย ระดับนานาชาติจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่อาจารย์ควรมีการพัฒนาตนเอง และหน่วยงานควรมีการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

    ... on July กรกฎาคม 20th, 2019
  21. ดร.นฤมล says:

    ควรมีการจัดระบบการสนับสนุนและส่งเสริมให้อาจารย์สร้างผลงานวิจัยเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในสารสารระดับนานาชาติ ที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม เพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพของอาจารย์และองค์กร

    ... on July กรกฎาคม 21st, 2019
  22. Hathairat Budsayapanpong says:

    การนำเสนองานวิจัยในต่างประเทศมีประโยชน์สำหรับการพัฒนาความเชี่ยวชาญ เเละพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษของอาจารย์ เป็นการสร้างเครือข่ายการทำงาน ตลอดจนเปิดโลกทัศน์ของอาจารย์สู่นานาชาติหากวางแผนงานรอบคอบจะสามารถบูรณาการงานวิเทศสัมพันธ์ร่วมด้วยเช่นทำMOUกับหน่วยงานในต่างประเทศเพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในทุกพันธกิจที่เกี่ยวข้อง ขณะเดียวกันต้องวางแผนงาน เงิน คนให้เหมาะสม มีการเตรียมความพร้อมตั้งแต่วางแผนโครงร่างงานวิจัยเพื่อสอดคล้องกับThemeงาน

    ... on July กรกฎาคม 21st, 2019
  23. อ.วงเดือน เล็กสง่า says:

    มีทีมงานหรือคณะกรรมการรับผิดชอบในการวิเคราะห์ว่าที่ผ่านมาว่าปัญหาการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยระดับนานาชาติอยู่ที่ใด แล้ววางแผนแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม

    ... on July กรกฎาคม 22nd, 2019
  24. ชมพู่ หลั่งนาคย says:

    การประชาสัมพันธือยู่ในวงแคบ มีคนเข้าถึงน้อย กระบวนการยื่นโครงร่างยุ่งยากและล่าช้า

    ... on July กรกฎาคม 22nd, 2019
  25. ชมพู่ หลั่งนาค says:

    ดีค่ะ

    ... on July กรกฎาคม 22nd, 2019
  26. ปารวีร์ says:

    การนำเสนองานวิจัยระดับนานาชาติเป็นเรื่องท้าทาย แต่เป็นเรื่องยากสำหรับผู้ไม่มีประสบการณ์ สถาบันต้องวางกลยุทธ์อย่างแรง ที่จะ สร้างแรงจูงใจให้มากพอเพื่อเป็นแรงกระตุ้น และผลักดันให้นักวิจัยประสบความสำเร็จ

    ... on July กรกฎาคม 22nd, 2019
  27. ดร.ชวนนท์ says:

    ควรมีการกำหนดหลักเกณฑ์การสนับสนุนอาจารย์ในการนำเสนอผลงานวิจัยระดับนานาชาติให้ชัดเจน

    ... on July กรกฎาคม 29th, 2019
  28. สายฝน อำพันกาญจน์ says:

    ต้องการผู้สนับสนุนในการทำวิจัยที่ชัดเจนเช่นระบบที่ปรึกษา ทีมงาน งบประมานและการขอจริยธรรมวิจัยควรมีระยะเวลาที่ชัดเจนและแจ้งผลให้ทราบเพื่อนำไปปรับปรุงและสามารถทำงานวิจัยร่วมกับสถาบันการศึกษาอื่นๆได้

    ... on July กรกฎาคม 31st, 2019
  29. ประกาศิต says:

    เป็นความท้ายทาย หากมีระบบสนับสนุนที่เพียงพอด้านเวลาและฐานข้อมูล จะช่วยส่งเสริมมากยิ่งขึ้น

    ... on July สิงหาคม 2nd, 2019
  30. jarunee says:

    เป็นอีกก้าวหนึ่งของเป้าหมายที่นำไปสู่ นานาชาติ ระบบสนับสนุนที่เอื้อ จะเป็นปัจจัยสำคัญในการไปสู่เป้าหมาย

    ... on July สิงหาคม 14th, 2019
  31. อัศวเดช says:

    การตีพิมพ์ผลงานระดับนานาชาติทุกคนก็อยากมีโอกาสทุกคน แต่ความเชี่ยวชาญ ภาระงาน ในหน้าที่แต่ละคนต่างกัน จะบริหารจัดการพัฒนาบุคลากร สร้างทีมงานที่มีศักยภาพ

    ... on July สิงหาคม 15th, 2019
  32. ทิพวรรณ says:

    เห็นด้วยกับอาจารย์ประกาศิตเป็นอย่างยิ่งในด้านระบบสนับสนุนที่ควรมีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ตลอดจนระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีความเชี่ยวชาญตามสาขาที่ตนเองรับผิดชอบอย่างจริงจังจนมีความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆเพื่อให้เกิด tacit knowledge และสรุปเป็นองค์ความรู้ ต่อยอดเป็นงานวิจัยและผลงานนวตกรรม

    ... on July สิงหาคม 20th, 2019
  33. ืnitjawan says:

    การตีพิมพ์นานาชาติ อุปสรรคที่สำคัญคือขาดความมั่นใจ และภาษาอังกฤษไม่เชี่ยวชาญ จึงต้องมีการพัฒนาและสร้างแรงจุงใจ

    ... on July เมษายน 15th, 2020
  34. wongduan says:

    เป็นแนวทางที่ดี อยากให้ดำเนินอย่างเป็นรูปธรรม

    ... on July เมษายน 15th, 2020
  35. SURASAK says:

    การตีพิมพ์นานาชาติ สิ่งที่ผ๔้พัฒนาผลงาน ควรต้องศึกษา คือธรรมชาติหรือลักษณะของบทความที่วารสารแต่ละฉบับ รับตีพิมพ์

    ... on July เมษายน 16th, 2020

Post a Comment